กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
Department of Medical Sciences
ทะเบียนองค์ความรู้
การศึกษาความเหมาะสมของหัววัดรังสีในการวัดปริมาณรังสีในลํารังสีขนาดเล็ก (ภาษาไทย)
Suitable of detector for small radiation field dosimetry (ภาษาอังกฤษ)
หน่วยงาน
สำนักรังสีและเครื่องมือแพทย์
ระยะเวลาในการดำเนินการ
งบประมาณ
เริ่มวันที่:7 เดือน มกราคม พ.ศ. 2556 จนถึงวันที่: 6 เดือน มกราคม พ.ศ. 2557 รวม:1 ปี
จำนวนเงิน:0.00 บาท
รายชื่อผู้ร่วมดำเนินการ
ลำดับ
ชื่อ-นามสกุล
ตำแหน่งในโครงการ
1
นายฉลอง ธรรมสุขวงศ์
ผู้ร่วมวิจัย
บทคัดย่อ
ผลการดําเนินการ พบว่า หัววัดรังสีชนิด Ionization chamber ขนาด 0.6 cc เหมาะสมสําหรับวัดปริมาณรังสีในลํา รังสีที"มีขนาดตั /งแต่ 4x4 cm2 หัววัดรังสีชนิด Ionization chamber ขนาด 0.13 cc เหมาะสมสําหรับวัดปริมาณรังสีในลํารังสีที"มีขนาดตั /งแต่ 3x3 cm2หัววัดรังสีชนิด Diamond detector เหมาะสมสําหรับวัดปริมาณรังสีในลํารังสีที"มีขนาดตั /งแต่ 2x2 cm2และ หัววัดรังสีชนิด Semiconductor detector เหมาะสมสําหรับวัดปริมาณรังสีในลํารังสีที"มีขนาดตั /งแต่ 2x2 cm2 วิจารณ์และสรุป หัววัดรังสีที"มีปริมาตรขนาด 0.6 cc จะมีผลของ volume averaging effect มากกว่าหัววัดรังสีขนาด 0.13 cc ทําให้ค่าที"วัดได้มีปริมาณลดลงส่งผลให้การคํานวณปริมาณรังสีมีความผิดพลาดเมื"อลํารังสีมีขนาดเล็ก สําหรับหัววัดรังสีชนิด Diamond detector และ Semiconductor detector จะมี sensitive volume ขนาดเล็กจึงทําให้มีความเหมาะสมสําหรับการวัดปริมาณรังสีในลํารังสีที"มีขนาดเล็ก
การเผยแพร่
ลำดับ
กิจกรรม
รายละเอียด
ระยะเวลา
1
การจัดนิทรรศการในงานต่าง ๆ
-
เริ่ม: 18 พ.ค. 2561 สิ้นสุด: 18 พ.ค. 2561
รางวัลที่ได้รับ
ฐานข้อมูลองค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
http://innovation.dmsc.moph.go.th
ข้อมูล ณ วันที่:๔ ก.พ. ๒๕๖๖
พิมพ์รายงาน